วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

กาพย์เห่เรือ

กาพย์เห่เรือ


กาพย์เห่เรือ เป็นคำประพันธ์ประเภทหนึ่ง แต่งไว้สำหรับขับร้องเห่ในกระบวนเรือ โดยมีทำนองเห่ที่สอดคล้องกับจังหวะการพายของฝีพาย ว่าช้า หรือเร็ว มักจะมีพนักงานขับเห่หนึ่งคนเป็นต้นเสียง และฝีพายคอยร้องขับตามจังหวะ พร้อมกับการให้จังหวะจากพนักงานประจำเรือแต่ละลำ


กาพย์เห่เรือนั้น ใช้คำประพันธ์ 2 ชนิดด้วยกัน นั่นคือ กาพย์ยานี 11 และโคลงสี่สุภาพ เรียงร้อยกันในลักษณะที่เรียกว่า กาพย์ห่อโคลง โดยมักขึ้นต้นด้วยโคลง 1 บท แล้วตามด้วยกาพย์ยานี เรื่อยไป จนจบตอนหนึ่งๆ เมื่อจะขึ้นตอนใหม่ ก็จะยกโคลงสี่สุภาพมาอีกหนึ่งบท แล้วตามด้วยกาพย์จนจบตอน เช่นนี้สลับกันไป
กาพย์เห่เรือที่เก่าแก่ที่สุด ที่พบในเวลานี้ คือ กาพย์เห่เรือใน
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ (เจ้าฟ้ากุ้ง) ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยอยุธยาตอนปลาย ทรงแต่งไว้ 2 เรื่อง คือบทเห่ชมเรือ ชมปลา ชมไม้ และชมนก มีลักษณะเป็นเหมือนนิราศ กับอีกเรื่องหนึ่ง คือเรื่องกากี
สันนิษฐานกันว่ากาพย์เห่เรือ เดิมคงจะแต่งเพื่อขับเห่กันเมื่อเดินทางไกลในแม่น้ำลำคลอง แต่ในภายหลังคงมีแต่เจ้านายหรือพระราชวงศ์ชั้นสูง และสุดท้ายมีใช้แต่ในกระบวนเรือของพระเจ้าแผ่นดินเท่านั้น
กาพย์เห่เรือไม่สู้จะนิยมประพันธ์กันมากนัก เนื่องจากถือเป็นคำประพันธ์สำหรับใช้ในพิธีการ คือ ในกระบวนเรือหลวง หรือ
กระบวนพยุยาตราชลมารค ไม่นิยมใช้ในพิธีหรือสถานการณ์อื่นใด การแต่งกาพย์เห่เรือจึงมักแต่งขึ้นสำหรับที่จะใช้เห่เรือจริงๆ ซึ่งในแต่ละรัชกาล มีการเห่เรือเพียงไม่กี่ครั้งเท่านั้น


กาพย์เห่เรือที่ปรากฏจนถึงปัจจุบัน


กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์ ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ นิยมใช้เห่ในกระบวนเรือหลวงจนถึงปัจจุบัน


กาพย์เห่เรือ พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ชมเครื่องคาวหวาน และผลไม้)


กาพย์เห่เรือ พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ชมสวน ชมนก ชมไม้ และชมโฉม)



กาพย์เห่เรือ พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ชมเรือ ชมพระนคร ชมปลา เห่ครวญ เป็นต้น)


กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์ ในพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (ทรงพระนิพนธ์ถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพระราชพิธีทรงเปิดสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์)


กาพย์เห่เรือ นิพนธ์ โดย นายฉันท์ ขำวิไล ในวาระฉลอง 25 พุทธศตวรรษ


กาพย์เห่เรือ นิพนธ์ โดย นายหรีด เรืองฤทธิ์ ในวาระฉลอง 25 พุทธศตวรรษ



วันจันทร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

Les histoires les histoires



L’association nationale du porc britannique a proposé Winnie, une jolie cochonne rose et séduisante, comme candidate à la mairie de Londres. Hélas, cette candidature n’a pas été acceptée. Dommage car Winnie avait pour devise « cochon qui s’en dédit ». Devise que nos hommes politiques ne feraient pas mal de mettre à leur répertoire. Et surtout à s’y tenir.Le 21 juin 1791, le roi Louis XVI, la reine Marie-Antoinette, leurs enfants et leur suite quitte Paris secrètement. Ils fuient la révolution. Le cortège s’arrête à Sainte-Menehould, dans une auberge. L’Histoire prétend que c’était pour changer les chevaux. La petite histoire prétend qu’en fait le roi ayant faim s’est arrêté pour manger le fameux pied de porc, spécialité culinaire de la ville. Comme quoi la gourmandise est un vilain défaut qui peut parfois vous faire perdre la tête !Dans son « florilège des mots de l’amour » paru aux éditions Plon, Robert Merle indique à l’expression âge cochon : il s’agit pour les Mauriciens, nous explique Loïc Depecker ( le ziboulateur enchanté – Seuil 1999), de désigner ici l’âge ingrat, autrement dit celui de la puberté. Peut-être après tout n’ont-ils pas, là-bas, de vieux cochons…Toujours dans le même ouvrage, le mot cochonnerie est expliqué ainsi : attesté à la fin du XVIIe siècle dans le sens de pacotille, chose sale ou mal fichue, le mot ne tarde pas à désigner aussi les paroles et actes réputés obscènes. « Il a pour singularité dans les goûts d’aimer et la vieillesse et tout ce qui lui ressemble pour la cochonnerie » (Sade les 120 journées de Sodome ou l’école du libertinage – 1785). Plus tard viendront les cochoncetés.

วันจันทร์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

อันดับมหาลัยที่ดีที่สุดใน เอเชีย ประจำปี 2552


ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จากการตรวจสอบการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุด 200 อันดับแรกของภูมิภาคเอเชียของ QS Asian Universities Ranking 2009 มีมหาวิทยาลัยรัฐของไทย 8 แห่ง ที่ติดอยู่ใน 200 อันดับ ได้แก่

มหาวิทยาลัยมหิดล อันดับที่ 30
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อันดับที่ 35
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.) อันดับที่ 81
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) อันดับที่ 85
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (มก.) อันดับที่ 108
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) อันดับที่ 109
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มข.) อันดับที่ 113
และมหาวิทยาลัยบูรพา (มบ.) อันดับที่ 151

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำหรับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียใน 10 อันดับแรก มีดังนี้
1.University of HONG KONG ฮ่องกง
2.The CHINESE University of Hong Kong ฮ่องกง
3.University of TOKYO ประเทศญี่ปุ่น
4.HONG KONG University of Science and Technology ฮ่องกง
5.KYOTO University ญี่ปุ่น
6.OSAKA University ญี่ปุ่น
7.KAIST - Korea Advanced Institute of Science & Technology ประเทศเกาหลีใต้
8. SEOUL National University เกาหลีใต้
9.TOKYO Institute of Technology ญี่ปุ่น และ
10.National University of Singapore (NUS) ประเทศสิงคโปร์ และ PEKING University สาธารณรัฐประชาชนจีน

วันจันทร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552


Thanksgiving Day is a harvest festival. Traditionally, it is a time to give thanks for the harvest and express gratitude in general. It is a holiday celebrated primarily in Canada and the United States. While perhaps religious in origin, Thanksgiving is now primarily identified as a secular holiday.
The date and location of the first Thanksgiving celebration is a topic of modest contention. Though the earliest attested Thanksgiving celebration was on
September 8, 1565 in what is now Saint Augustine, Florida[1][2], the traditional "first Thanksgiving" is venerated as having occurred at the site of Plymouth Plantation, in 1621. The Plymouth celebration occurred early in the history in one of the original thirteen colonies that became the United States, and this celebration became an important part of the American myth by the 1800s.
Today, Thanksgiving is celebrated on the second Monday of October in
Canada and on the fourth Thursday of November in the United States. Thanksgiving dinner is held on this day, usually as a gathering of family members and friends.