วันศุกร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
ความลี้ลับของสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา
เด็กไม่เอาถ่าน คำนี้มีที่มาจากอะไร?
เด็กที่วันๆ เอาแต่เล่นเกมส์ออนไลน์ ไม่อ่านหนังสือเรียน การบ้านก็ไม่ทำ งานบ้านก็ไม่เคยคิดจะหยิบจับช่วยเหลือพ่อแม่ ทานอาหารแล้วไม่รู้จักล้างจานชาม เหล่านี้ล้วนเป็นตัวอย่างพฤติกรรมของ เด็กไม่เอาถ่าน
ทำไมจึงเรียก "เด็กไม่เอาถ่าน" คาดกันว่าคำนี้มีที่มาจากคำเดิม คือ "เหล็กไม่เอาถ่าน" เพราะ ในสมัยก่อนนั้น การหลอมเหล็กหรือตีอาวุธจากเหล็กให้แข็งแกร่งนั้น จำเป็นต้องใช้ถ่านในการก่อเปลวไฟจนลุกโชน เพื่อให้ความร้อนแก่เหล็ก แล้วถ่านหรือคาร์บอนจะแทรกตัวเข้าไปอยู่ในเนื้อเหล็กหลังจากการถลุง ถ้าเหล็กไม่มีถ่านผสมอยู่เลย เหล็กนั้นจะมีคุณภาพต่ำ ไม่แข็งและเหนียวพอที่จะเรียกว่า เหล็กกล้า แต่หากมีมากเกินไปจะทำให้เหล็กเปราะ เหล็กที่ดีควรมีคาร์บอนเข้าไปผสมอยู่ประมาณ 0.1 - 1.8%ช่างตีอาวุธจากเหล็กในสมัยโบราณ จำเป็นต้องคิดค้นหากลวิธี เพื่อขจัดปัญหาดาบหัก เพราะแสดงถึงกรรมวิธีการผลิตที่ไม่ดีทำให้เหล็กไม่เอาถ่าน จนกลายเป็นคำพูดติดปาก เปรียบเทียบนิสัยคนกับอาวุธว่า "เหล็กไม่เอาถ่าน"
น้ำแข็งทางแถบเดียวของอาร์กติกละลาย ดันน้ำทะเลล้นสูง5ม.
น้ำแข็งทางแถบเดียวของอาร์กติกละลาย ดันน้ำทะเลล้นสูง5ม.
วิธี 'สู้หวัดใหญ่ 2009' 'ขยันล้างมือ'
เรื่องง่ายๆไฉนไม่ทำ?
กระแส “ตื่นกลัว” โรค “ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009” ลามไปทุกทิศทั่วไทย เนื่องเพราะมีคนไทยป่วยเพิ่ม-ตายเพิ่มเพราะโรคนี้แทบทุกวัน อย่างไรก็ดี จากกระแสตื่นกลัวนี้หากปรับเปลี่ยน ให้กลายเป็นการ “ตื่นตัว” ในการที่จะ “ป้องกันโรค” ก็จะดีกว่าแค่ตื่นกลัว ซึ่งทางฝ่ายสาธารณสุขก็กำลังรณรงค์อย่างเต็มที่
จริงอยู่....วันนี้เรื่องหวัดใหญ่ 2009 มิใช่เรื่องใหม่
ทว่า...การเรียนรู้เรื่องหวัดใหญ่ 2009 ก็ยังสำคัญ
เมื่อวันที่ 13 ก.ค. ที่ผ่านมา ทางเจ้าหน้าที่กระทรวงสาธารณสุข นำทีมโดย ดร.นพ.สมยศ ดีรัศมี อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้ เข้ารณรงค์เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 แก่ประชาชน ผ่านทางหนังสือพิมพ์ “เดลินิวส์” ซึ่งประเด็น “ล้างมือ” ก็ได้ถูกเน้นย้ำว่าอย่ามองข้าม !! ทั้งนี้ อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ บอกว่า...
ในภาวะปกตินั้น การใช้ “หน้ากากอนามัย” มีความสำคัญมากในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคที่ติดต่อได้ทางระบบทางเดินหายใจ ซึ่ง คนที่ไม่สบายจะต้องใส่หน้ากากอนามัยอย่างเคร่งครัด เพื่อไม่ให้เชื้อแพร่ระบาดไปยังผู้อื่น
นอกจากนี้ คนที่ต้องเข้าไปอยู่ในสถานที่เสี่ยงควรจะใส่หน้ากาก อนามัยเพื่อป้องกันตัวเองไม่ให้ไปรับเชื้อจากผู้อื่น โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่มีการแพร่ระบาดของโรค อย่างเช่นเมื่อต้องไปโรงพยาบาล ซึ่งเป็นสถานที่รวมคนป่วยสารพัดโรค คนที่ไม่ป่วยถ้าต้องเข้าไปก็ต้องใส่หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันตัวเองด้วย
“การเฝ้าระวังและดูแลการแพร่ระบาดของไข้หวัดใหญ่สาย พันธุ์ใหม่ 2009 การป้องกันการติดต่อทุกประเภท เป็นสิ่งที่สามารถควบคุมได้ สามารถป้องกันได้ หากทุกคนร่วมมือร่วมใจกันปฏิบัติตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานสาธารณสุขแต่ละพื้นที่อย่างเคร่งครัด”
ดร.นพ.สมยศ บอกต่อไปว่า... การแพร่เชื้อติดต่อจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 นั้น เกิดจากการที่ผู้ป่วยไอ จาม ซึ่งผู้รับเชื้อจะหายใจเอาฝอยละอองเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย เข้าไปในระยะ 1 เมตร เนื่องจากเชื้อไวรัสนั้นจะอยู่ในน้ำมูก น้ำลาย และเสมหะ
อย่างไรก็ตาม ผู้ติดเชื้อบางรายก็ได้รับเชื้อเบื้องต้นจาก “มือ” โดย สัมผัสสิ่งของเครื่องใช้ที่ปนเปื้อนเชื้อ โดยเฉพาะตามสถานที่สาธารณะต่าง ๆ ที่มีคนไปใช้บริการจำนวนมาก เช่น... ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ สถาน บันเทิง และสถานที่แออัดต่าง ๆ แล้วใช้มือแคะจมูก ขยี้ตา หรือหยิบอาหารเข้าปาก
สำหรับสถานที่เสี่ยง ผู้ที่รับผิดชอบดูแลก็จะต้องทำความสะอาดอุปกรณ์และผิวสัมผัสสาธารณะต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นแหล่งแพร่เชื้อให้มากเป็น พิเศษ เช่น... ลูกบิดประตู ปุ่มกดลิฟต์ ราวบันไดเลื่อน รถเข็นของในห้างสรรพสินค้า ก้านชักโครก ก๊อกน้ำ โต๊ะ เก้าอี้ ไมโครโฟนร้องเพลง แป้นคีย์ บอร์ด เมาส์คอมพิวเตอร์ ฯลฯ โดยต้องเพิ่มความถี่ในการทำความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ หรือน้ำผสมผงซักฟอก
การเพิ่มความถี่ในการทำความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ หรือน้ำผสมผงซักฟอก คือทุก ๆ 2 ชั่วโมง และอาจติดตั้งแอลกอฮอล์เจลล้างมือไว้ตามประตูเข้า-ออก โซนร้านอาหาร เพื่อบริการล้างมือฆ่าเชื้อโรค
“ก็ต้องขอความร่วมมือจากทุกภาคส่วนและองค์กรต่าง ๆ เพื่อช่วยกันป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ เพื่อลดผลกระทบต่อประเทศไทย” ...อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพระบุ
พร้อมกันนี้ยังกล่าวย้ำเป็นพิเศษถึงวิธีป้องกันการแพร่ระบาดไข้ หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ด้วยว่า... “สิ่งสำคัญพื้นฐานที่ต้องทำเป็นประจำอย่าให้ขาด คือต้องหมั่นล้างมือบ่อย ๆ ให้สะอาด” เพราะที่ผ่านมาแม้จะมีการรณรงค์ แต่คนไทยก็มักจะไม่ค่อยชอบล้างมือ วันหนึ่งล้างแค่ 1-2 ครั้ง หรือบางคนก็ไม่ล้างเลย
ดังนั้น ต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ “ขยันล้างมือ” ทำให้ติดเป็นนิสัย เพราะ “สามารถขจัดเชื้อโรคออกจากมือได้ถึงร้อยละ 80” โดย เปิดก๊อกน้ำให้น้ำรดมือ พร้อมถูสบู่ให้ทั่ว ทั้งฝ่ามือ หลังมือ นิ้ว หลังนิ้ว ซอกนิ้ว ซอกเล็บ ข้อมือ ล้างอย่างน้อยครึ่งนาที หรือจะใช้แอลกอฮอล์เจล ทำความสะอาดมือก็ได้
ทั้งนี้ ดร.นพ.สมยศ บอกด้วยว่า... ทางกระทรวงสาธารณสุขได้จัดพิมพ์สมุดปกเขียว หรือคู่มือประชาชนรู้เท่าทันเพื่อป้องกันไข้หวัดใหญ่ 2009 จำนวน 100,000 เล่ม พร้อมจัดทำแผ่นพับให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 แจกประชาชนทั่วไป รวมถึงจัดทำโปสเตอร์ เพื่อเป็นการให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชนในเรื่องโรคไข้หวัดใหญ่ชนิดนี้ ซึ่งไม่ต่างจากไข้หวัดใหญ่ทั่วไป ให้ความรู้ทั้งสถานการณ์โรค คำแนะนำหลักปฏิบัติตัวเพื่อ ป้องกันโรค รวมถึงการล้างมือที่ช่วยขจัดเชื้อที่ติดมากับมือ ซอกเล็บ ง่ามนิ้ว ได้ถึงร้อยละ 80
คู่มือประชาชน-แผ่นพับให้ความรู้ประชาชนดังกล่าวนี้ ทาง กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการจัดส่งไปให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล สถานีอนามัย เพื่อแจกให้ประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ และในส่วนกลางนั้นยังสามารถติดต่อขอรับได้ที่ ศูนย์บริการร่วมกรมควบคุมโรค อาคาร 1 ชั้น 1 กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี หรือติดต่อขอคำแนะนำ-สอบถามข้อมูล ได้ที่ โทร. 0-2590-3333 ตลอด 24 ชั่วโมง
“ตื่นตัว” ย่อมจะ “ดีกว่าตื่นกลัว” โดยที่ไม่ได้ทำอะไร
ป้องกัน “หวัดใหญ่พันธุ์ใหม่” คนไทยก็ทำเองได้ง่าย ๆ
และ “ขยันล้างมือ” ก็เป็นวิธีหนึ่ง...ที่อย่ามองข้าม !!!.
Blaise Pascal
June 19, 1623 Clermont
Achievement
Invented one of the first mechanical calculators: the pascaline
Biography
Among the contemporaries of Descartes none displayed greater natural genius than Pascal, but his mathematical reputation rests more on what he might have done than on what he actually effected, as during a considerable part of his life he deemed it his duty to devote his whole time to religious exercises.
Blaise Pascal was born at Clermont on June 19, 1623, and died at Paris on Aug. 19, 1662. His father, a local judge at Clermont, and himself of some scientific reputation, moved to Paris in 1631, partly to prosecute his own scientific studies, partly to carry on the education of his only son, who had already displayed exceptional ability. Pascal was kept at home in order to ensure his not being overworked, and with the same object it was directed that his education should be at first confined to the study of languages, and should not include any mathematics. This naturally excited the boy's curiosity, and one day, being then twelve years old, he asked in what geometry consisted. His tutor replied that it was the science of constructing exact figures and of determining the proportions between their different parts. Pascal, stimulated no doubt by the injunction against reading it, gave up his play-time to this new study, and in a few weeks had discovered for himself many properties of figures, and in particular the proposition that the sum of the angles of a triangle is equal to two right angles.
His father, struck by this display of ability, gave him a copy of Euclid's Elements, a book which Pascal read with avidity and soon mastered.
Before Pascal turned 13 he had proven the 32-nd proposition of Euclid and discovered an error in Rene Descartes geometry. At 16, Pascal began preparing to write a study of the entire field of mathematics, but his father required his time to hand total long columns of numbers. Pascal began designing a calculating machine, which he finally perfected when he was thirty, the pascaline, a beautiful handcrafted box about fourteen by five by three inches. The first accurate mechanical calculator was born. The Pacaline was not a commercial success in Pascal's lifetime; it could do the work of six accountants and people feared it would create unemployment.
At the age of fourteen he was admitted to the weekly meetings of Roberval, Mersenne, Mydorge, and other French geometricians; from which, ultimately, the French Academy sprung. At sixteen Pascal wrote an essay on conic sections; and in 1641, at the age of eighteen, he constructed the first arithmetical machine, an instrument which, eight years later, he further improved. His correspondence with Fermat about this time shows that he was then turning his attention to analytical geometry and physics. He repeated Torricelli's experiments, by which the pressure of the atmosphere could be estimated as a weight, and he confirmed his theory of the cause of barometrical variations by obtaining at the same instant readings at different altitudes on the hill of Puy-de-Dôme.
In 1650, when in the midst of these researches, Pascal suddenly abandoned his favorite pursuits to study religion, or, as he says in his Pensées, "contemplate the greatness and the misery of man''; and about the same time he persuaded the younger of his two sisters to enter the Port Royal society.
In 1653 he had to administer his father's estate. He now took up his old life again, and made several experiments on the pressure exerted by gases and liquids; it was also about this period that he invented the arithmetical triangle, and together with Fermat created the calculus of probabilities. He was meditating marriage when an accident again turned the current of his thoughts to a religious life. He was driving a four-in-hand on November 23, 1654, when the horses ran away; the two leaders dashed over the parapet of the bridge at Neuilly, and Pascal was saved only by the traces breaking. Always somewhat of a mystic, he considered this a special summons to abandon the world. He wrote an account of the accident on a small piece of parchment, which for the rest of his life he wore next to his heart, to perpetually remind him of his covenant; and shortly moved to Port Royal, where he continued to live until his death in 1662. Constitutionally delicate, he had injured his health by his incessant study; from the age of seventeen or eighteen he suffered from insomnia and acute dyspepsia, and at the time of his death was physically worn out.
His famous Provincial Letters directed against the Jesuits, and his Pensées, were written towards the close of his life, and are the first example of that finished form which is characteristic of the best French literature. The only mathematical work that he produced after retiring to Port Royal was the essay on the cycloid in 1658. He was suffering from sleeplessness and toothache when the idea occurred to him, and to his surprise his teeth immediately ceased to ache. Regarding this as a divine intimation to proceed with the problem, he worked incessantly for eight days at it, and completed a tolerably full account of the geometry of the cycloid.
Pascal was dismayed and disgusted by society's reactions to his machine and completely renounced his interest in science an mathematics, devoting the rest of his life to God. He is best known for his collection of spiritual essays, Les Pensées. Even though the basic design of the Pascaline lived on in mechanical calculators for over three hundred years. As a counting machine, the Pascaline was not superseded until the invention of the electronic calculating machine. "The arithmetical machine produces effects which approach nearer to thought than all the actions of animals", wrote Pascal in Pensées, (a -customarily- lengthy piece) "but it does nothing which would enable us to attribute will to it, as to animals." Pascal, genius by any measure, died of a brain hemorrhage at the age of 39.