วันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2552
France d'outre-mer
Des collectivités françaises en outre-mer ont des statuts particuliers liés à leur plus forte autonomie : les collectivités de Mayotte et de Saint-Pierre-et-Miquelon ont une administration locale unique combinant les fonctions généralement conférées aux régions et départements métropolitains. Toutefois, Mayotte évolue depuis 2001 vers le statut de département d’outre-mer, pour une plus forte intégration. Ces deux collectivités, bien que situées hors de l’Union européenne, utilisent l’euro comme monnaie.
Les autres collectivités d’outre-mer du Pacifique ont des statuts d’autonomie plus étendue où cohabitent l’administration territoriale régalienne et l’administration coutumière (Polynésie française, Nouvelle-Calédonie, Wallis-et-Futuna). Bien que possédant toujours une division et une administration communale (sauf à Wallis-et-Futuna où ce sont les villages coutumiers qui jouent ce rôle au sein des trois royaumes coutumiers), ces collectivités ne sont pas découpées en départements, mais en provinces (ou royaumes) et en villages (sur les bases coutumières) ayant des fonctions normalement affectées aux départements et communes en métropole et dans les régions d’outre-mer, notamment en matière de justice, d’éducation ou de citoyenneté. De plus, la fonction de région y est transférée à un gouvernement local où sont représentés les autorités coutumières et régaliennes, ainsi qu’un administrateur de la République. Ces collectivités, hors de l’Union européenne, utilisent
le franc pacifique comme monnaie commune (liée à l’euro depuis 1999, au lieu du franc français). Il faut noter que la Nouvelle-Calédonie dispose d’un statut particulier transitoire spécifique avant un futur référendum devant déterminer si le territoire demeurera dans la République française avec une large autonomie, ou deviendra indépendant (avec une éventuelle association).
D’autres terres françaises en outre-mer peu ou pas habitées sont gérées à distance depuis un autre territoire habité, par un administrateur désigné par l’État au nom de la république : les îles Éparses (dans l’océan Indien, dispersées autour de Madagascar, ou près de Mayotte ou Maurice) et les Terres australes et antarctiques françaises (au Sud de l’océan Indien) sont administrées depuis la Réunion, et Clipperton (à l’Est de l’océan Pacifique, au large du Mexique) est gérée depuis la Polynésie française. Ces terres n’ont pas d’administration locale propre
La baleine...
วันศุกร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2552
phrasal verb
get on = เข้ากันได้
I did not get on with my roommate, she was too messy.
get ahead = ก้าวหน้า
He got ahead by working hard.
get around = ไปไหนมาไหน
I had trouble getting around in Bangkok because the traffic was so bad.
get away with = ทำไปไดยไม่มีความผิด
Don\'t think you can steal money from the company and get away with it.
get away from = ไปให้พ้นจาก
He had to get away from his drunk friends.
get over = หายจากโรค หายจากความเศร้า หายจากความอาย หายจากความแค้น
It took me a long time before I got over my father\'s death.
get by = เพียงพอ
I can get by on 5,000 baht a month. I thought I could get by without studying. (คือคะแนนสูงเพียงพอ)
get along = เข้ากันได้เหมือน
get on เช่น We got along well. แต่ถ้า My aunt is getting along in years. ป้าผมชักจะชรา
get behind = ล้าหลัง
He became ill and got behind in his studies.
get around = อ้อม
I had to get around the obstacle.
get on = ทำต่อไปเช่นเดิม
Please get on with your work, don\'t let me interrupt.
get off = ไปให้พ้น
Get off my back, I\'m doing the best I can. เป็นคำ slang ไม่ค่อยสุภาพ
sort out = solve, manage
- He sorted out the problem.
/ He sorted the problem out.
look after = Take care
- They looked after the bear cub.
came across = meet something or someone by accident/ by chance
see off = say goodbye to someone who was going on a journey
pick up = take someone or something in a care
drop off = let something get out of your car
คำศัพท์เยอะได้อีก
วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2552
ผู้เชี่ยวชาญภูมิอากาศ เตือน9จุดอันตรายโลกร้อน
คณะผู้เชี่ยวชาญภูมิอากาศได้ระบุพื้นที่ที่เปราะบาง 9 จุดซึ่งอาจไม่สามารถฟื้นคืนให้กลับมามีสภาพดังเดิมได้ หรือสายเกินไปที่จะกอบกู้พื้นที่เหล่านี้ เช่น ทะเลน้ำแข็งขั้วโลกเหนือ และแผ่นน้ำแข็งกรีนแลนด์ ซึ่งตกอยู่ในอันตรายเฉพาะหน้ามากที่สุด บางคนประเมินว่าจะไม่มีทะเลน้ำแข็งอีกต่อไป ภายใน 25 ปี
อีกจุดที่เปราะบางมากที่สุดคือป่าฝนอเมซอน ซึ่งปริมาณฝนลดลงมากจนทำท่าคุกคามต้นไม้เป็นวงกว้างและต้นไม้เหล่านี้ก็ไม่สามารถฟื้นคืนได้ด้วยตัวเอง นอกจากนั้น นักวิทยาศาสตร์ยังแสดงความวิตกเกี่ยวกับป่าบอเรียล และคาดหมายว่าปรากฏการณ์์เอลนีโญที่มีผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อสภาพอากาศตั้งแต่แอฟริกาไปจนถึงอเมริกาเหนือ จะรุนแรงมากขึ้น พร้อมกันนี้นักวิทยาศาสตร์เรียกร้องให้จัดทำระบบเตือนภัยล่วงหน้า เพื่อติดตามระบบนิเวศวิทยาที่เปราะบางเหล่านี้
นักวิทยาศาสตร์ได้คำนวณในการศึกษาล่าสุดว่าทะเลน้ำแข็งขั้วโลกเหนือ จะลดลงทันทีที่อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้น 0.5-2 องศาเซลเซียส และมีโอกาส 50% ที่แผ่นน้ำแข็งกรีนแลนด์ จะเริ่มละลายไม่หยุด แม้ต้องใช้เวลาหลายร้อยปีกว่าจะละลายหมด ซึ่งน้ำจากการละลายของน้ำแข็งนี้จะทำให้ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้น 7 เมตร
ขณะที่อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 3 องศา จะทำให้ปรากฏการณ์เอลนีโญรุนแรงขึ้น อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 3-5 องศา จะทำให้ฝนในป่าอเมซอนลดลง 30% ทำให้หน้าแล้งยาวนานขึ้น สำหรับป่าบอเรียลนั้น อาจเลยจุดที่ไม่สามารถฟื้นคืนได้แล้ว และจะทำให้หญ้าจำนวนมากแห้งตายในช่วง 50 ปีหน้า
การวัดแผ่นน้ำแข็งทางตะวันตกของขั้วโลกใต้ พบว่าดุลของหิมะที่ตกและการละลาย ได้เปลี่ยนไป และการศึกษาพบว่าอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นมากกว่า 5 องศา อาจทำให้น้ำแข็งละลายอย่างไม่สามารถควบคุมได้ ทำให้ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้น 5 เมตร ภายใน 300 ปี
คณะผู้เชี่ยวชาญระหว่างประเทศกลุ่มนี้ประกอบด้วยองค์กรชั้นนำของโลกไม่ว่าจะเป็นสถาบันพอสต์ดัมว่าด้วยการวิจัยผลกระทบภูมิอากาศในเยอรมนี มหาวิทยาลัยอีสต์แองเลียและสถาบันการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมแห่งมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด
แตงโมแช่เย็น คุณค่าทางอาหารลดลง
ไลโคปีนเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ทำให้ผักผลไม้มีสีแดง คาดว่าช่วยป้องกันโรคหัวใจและมะเร็งได้บางชนิด ส่วนเบต้าแคโรทีนเป็นสารอาหารที่ร่างกายจะเปลี่ยนเป็นวิตามินเอ งานวิจัยนี้ชี้ว่า แตงโมยังผลิตสารอาหารต่อเนื่องแม้ถูกเก็บมาจากต้นแล้ว กระบวนการนี้จะลดลงหากนำแตงโมไปเก็บในอุณหภูมิเย็น ปกติแล้วแตงโมจะมีอายุในการวางจำหน่ายประมาณ 14 - 21 วัน ณ อุณหภูมิ 13 องศาเซลเซียสหลังการเก็บเกี่ยว