OXFORD UNIVERSITY อยู่ในประเทศ อังกฤษ และเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของอังกฤษ
วันอาทิตย์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
วันเสาร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
เคล็ดลับ ความรู้ สำหรับคนชอบกินผัก
น้ำตาลในผัก
ใครที่ชอบทานผัก ทราบหรือไม่ว่าผักแต่ละชนิดมีน้ำตาลอยู่มากน้อยแค่ไหน วันนี้เกร็ดความรู้มีเรื่องนี้มาฝากกัน....
ผักที่มีน้ำตาล 3-5 เปอร์เซ็นต์
มะเขือ น้ำเต้า ใบตังโอ๋ ผักกาดขาว ผักกระเฉด แตงกวา บวบ ผักโขม ผักบุ้ง หน่อไม้ หัวผักกาดขาว ฟักเขียว ผักกาดหอม ผักบุ้งจีน ยอดฟักทอง เห็ดบัว แตงร้าน ผักตำลึง ผักกาดขาวปลี ขึ้นฉ่าย มะระ ถั่วงอก ผักกวางตุ้ง ผักคะน้า กุยช่าย สายบัว ชะอม ดอกหอม กะหล่ำปลี
ผักที่มีน้ำตาล 5-10 เปอร์เซ็นต์
ฝักถั่วลันเตา ใบชะพลู ต้นหอม ดอกกะหล่ำ ถั่วแขก ผักโขม หอมใหญ่ ใบทองหลาง ดอกโสน ถั่วพู มะรุม ดอกแค ขิง หน่อไม้ ข้าวโพดอ่อน หัวปลี กระเจี๊ยบ มะละกอดิบ ใบกระถิน ยอดและฝักอ่อนกระถิน
ผักที่มีน้ำตาล 15-20 เปอร์เซ็นต์
ดอกขี้เหล็ก เมล็ดถั่วลันเตา ใบมะขามอ่อน ใบย่านาง ผักหวาน ลูกเนียง มันฝรั่ง
ผักที่มีน้ำตาล 20-30 เปอร์เซ็นต์
กระจับ กลอย เผือก มันเทศ ใบขี้เหล็ก แห้วจีน
รู้อย่างนี้แล้ว จะทานผักก็ต้องเลือกกันหน่อย เพื่อสุขภาพที่ดีจ้า
ใครที่ชอบทานผัก ทราบหรือไม่ว่าผักแต่ละชนิดมีน้ำตาลอยู่มากน้อยแค่ไหน วันนี้เกร็ดความรู้มีเรื่องนี้มาฝากกัน....
ผักที่มีน้ำตาล 3-5 เปอร์เซ็นต์
มะเขือ น้ำเต้า ใบตังโอ๋ ผักกาดขาว ผักกระเฉด แตงกวา บวบ ผักโขม ผักบุ้ง หน่อไม้ หัวผักกาดขาว ฟักเขียว ผักกาดหอม ผักบุ้งจีน ยอดฟักทอง เห็ดบัว แตงร้าน ผักตำลึง ผักกาดขาวปลี ขึ้นฉ่าย มะระ ถั่วงอก ผักกวางตุ้ง ผักคะน้า กุยช่าย สายบัว ชะอม ดอกหอม กะหล่ำปลี
ผักที่มีน้ำตาล 5-10 เปอร์เซ็นต์
ฝักถั่วลันเตา ใบชะพลู ต้นหอม ดอกกะหล่ำ ถั่วแขก ผักโขม หอมใหญ่ ใบทองหลาง ดอกโสน ถั่วพู มะรุม ดอกแค ขิง หน่อไม้ ข้าวโพดอ่อน หัวปลี กระเจี๊ยบ มะละกอดิบ ใบกระถิน ยอดและฝักอ่อนกระถิน
ผักที่มีน้ำตาล 15-20 เปอร์เซ็นต์
ดอกขี้เหล็ก เมล็ดถั่วลันเตา ใบมะขามอ่อน ใบย่านาง ผักหวาน ลูกเนียง มันฝรั่ง
ผักที่มีน้ำตาล 20-30 เปอร์เซ็นต์
กระจับ กลอย เผือก มันเทศ ใบขี้เหล็ก แห้วจีน
รู้อย่างนี้แล้ว จะทานผักก็ต้องเลือกกันหน่อย เพื่อสุขภาพที่ดีจ้า
วันงดสูบบุหรี่โลก (อังกฤษ: World No Tobacco Day)
ตรงกับวันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปี เริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ วันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 โดยองค์การอนามัยโลก เพื่อให้เห็นอันตรายของบุหรี่ต่อสุขภาพ ของผู้สูบบุหรี่และผู้ไม่สูบบุหรี่แต่ได้รับควันบุหรี่ การจัดงานวันงดสูบบุหรี่โลกก็เพื่อกระตุ้นให้ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบ และให้รัฐบาลชุมชนและประชากรโลก ตระหนักถึงความสำคัญและเข้าร่วมกิจกรรม
คำขวัญวันงดสูบบุหรี่โลกขององค์การอนามัยโลกปีนี้
2552(2009)
Tobacco Health Warnings
เตือน! ควันบุหรี่ฆ่าคุณ
ตรงกับวันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปี เริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ วันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 โดยองค์การอนามัยโลก เพื่อให้เห็นอันตรายของบุหรี่ต่อสุขภาพ ของผู้สูบบุหรี่และผู้ไม่สูบบุหรี่แต่ได้รับควันบุหรี่ การจัดงานวันงดสูบบุหรี่โลกก็เพื่อกระตุ้นให้ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบ และให้รัฐบาลชุมชนและประชากรโลก ตระหนักถึงความสำคัญและเข้าร่วมกิจกรรม
คำขวัญวันงดสูบบุหรี่โลกขององค์การอนามัยโลกปีนี้
2552(2009)
Tobacco Health Warnings
เตือน! ควันบุหรี่ฆ่าคุณ
มารุจักเครื่องหมายในภาษาอังกฤษกัน
Period ( . )
1.ใช้เมื่อจบประโยคในประโยคบอกเล่าหรือประโยคคำสั่ง
I saw the boy.Let's go to the shop.Give me the pen please.
2.ใช้หลังอักษรย่อต่างๆหรือคำย่อDr.=Doctor, adv.=adverb U.S.A.=United States of America
Comma ( , )
1.ใช้คั่นเพื่อแยกคำนามซ้อนThailand, a country in Asia, is famous for its beautiful temples.
2. ใช้แยกระหว่างคำที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันเช่นI want a car, a motorcycle, and a bicycle.
3.ใช้แยกคำคุณศัพท์ที่บอกสีa blue, yellow bicycle
4.ใช้แยกคำคุณศัพท์ที่ตามหลังคำนามThe modal is dark, tall and handsome.
5. คั่นข้างหน้าหรือข้างหลังชื่อ เช่นChristina, where have you been?What would you like to eat, Pranee?
6. คั่นประโยคที่ตามหลัง Yes, No และ Well ที่ขึ้นต้นประโยคAre you Thai? Yes, I am.
Well, I'm not sure if I can do that.
7. ใช้เพื่อแยกข้อความในประโยคคำพูดเช่นHe said, "They are happy."
8. คั่นระหว่างปีที่ตามหลังเดือน, ถนนกับเมือง,เมืองกับประเทศเช่นToday is May 4th, 2000.
Dang lives at 56 Sukumvit Road, Bangkok.
Semi-colon ( ; )
1. ใช้คั่นประโยคที่มีเครืองหมาย comma คั่นอยู่แล้วเช่นHello, Nittaya; Please come here.
2. ใช้ทำหน้าเพื่อเชื่อมประโยคสองประโยคที่มีเนื้อหาเกี่ยวพันกันวางไว้หน้า adverbได้แก่คำว่าtherefore(ดังนั้น) besides(นอกจากนี้) เป็นต้นCanada is very cold; therefore people must wear heavy coats in the winter.
Colon ( : )
1.ใช้ colon ก่อนการประโยคอธิบายHe decided to buy a car:he had to travel to the remote area.
2.ใช้แจ้งรายการ ซึ่งนิยมใช้หลังคำเหล่านี้ the following หรือ as follows เป็นต้น เช่นWe require the following for our camping trip: tent, bags, and boots.
Question Mark ( ? )
ใช้กับประโยคคำถามเช่นIs that food hot?What is your nationality?Do you like durian?How tall are you?
Exclamation Mark ( ! )
ใช้หลังคำอุทานหรือประโยคอุทาน เช่นOh! you are so beautiful.Watch out!Go away!
Apostrophe ( ' )
1. ใช้แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามทั้งนามเอกพจน์และนามพหูพจน์ เช่นThe doctor's carThe men's clubSomkiet's dog
2.ใช้แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามพหูพจน์ที่เติม s หรือชื่อเฉพาะที่มี s เช่นThe girls' books
Charles' school2. ใช้คำย่อหรือรูปย่อcan't (cannnot)it's (it is)I'd rather (I woud rather)
Quotation Marks ( " " )
ใช้เขียนคร่อมข้อความที่เป็นประโยคคำพูดเช่นHe said, "I am going home."
"I can help you move," Narong volunteered.
Hypen ( - )
ใช้เพื่อเชื่อมคำสองคำให้เป็นคำเดียวกันเช่นex-husbandanti-Americantwo-day holiday
Dash ( - )
ใช้เพื่อเน้นข้อความที่แทรกเข้ามาเพื่ออธิบายหรือใช้คั่นคำละไว้ในฐานที่เข้าใจหรือเปลี่ยนใหม่ เช่น
I got lost, forgot my bag, and missed my plane-- it was a terrible trip.If I had a lot of money, I would ---Oh, what am I thinking? I will never be rich
1.ใช้เมื่อจบประโยคในประโยคบอกเล่าหรือประโยคคำสั่ง
I saw the boy.Let's go to the shop.Give me the pen please.
2.ใช้หลังอักษรย่อต่างๆหรือคำย่อDr.=Doctor, adv.=adverb U.S.A.=United States of America
Comma ( , )
1.ใช้คั่นเพื่อแยกคำนามซ้อนThailand, a country in Asia, is famous for its beautiful temples.
2. ใช้แยกระหว่างคำที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันเช่นI want a car, a motorcycle, and a bicycle.
3.ใช้แยกคำคุณศัพท์ที่บอกสีa blue, yellow bicycle
4.ใช้แยกคำคุณศัพท์ที่ตามหลังคำนามThe modal is dark, tall and handsome.
5. คั่นข้างหน้าหรือข้างหลังชื่อ เช่นChristina, where have you been?What would you like to eat, Pranee?
6. คั่นประโยคที่ตามหลัง Yes, No และ Well ที่ขึ้นต้นประโยคAre you Thai? Yes, I am.
Well, I'm not sure if I can do that.
7. ใช้เพื่อแยกข้อความในประโยคคำพูดเช่นHe said, "They are happy."
8. คั่นระหว่างปีที่ตามหลังเดือน, ถนนกับเมือง,เมืองกับประเทศเช่นToday is May 4th, 2000.
Dang lives at 56 Sukumvit Road, Bangkok.
Semi-colon ( ; )
1. ใช้คั่นประโยคที่มีเครืองหมาย comma คั่นอยู่แล้วเช่นHello, Nittaya; Please come here.
2. ใช้ทำหน้าเพื่อเชื่อมประโยคสองประโยคที่มีเนื้อหาเกี่ยวพันกันวางไว้หน้า adverbได้แก่คำว่าtherefore(ดังนั้น) besides(นอกจากนี้) เป็นต้นCanada is very cold; therefore people must wear heavy coats in the winter.
Colon ( : )
1.ใช้ colon ก่อนการประโยคอธิบายHe decided to buy a car:he had to travel to the remote area.
2.ใช้แจ้งรายการ ซึ่งนิยมใช้หลังคำเหล่านี้ the following หรือ as follows เป็นต้น เช่นWe require the following for our camping trip: tent, bags, and boots.
Question Mark ( ? )
ใช้กับประโยคคำถามเช่นIs that food hot?What is your nationality?Do you like durian?How tall are you?
Exclamation Mark ( ! )
ใช้หลังคำอุทานหรือประโยคอุทาน เช่นOh! you are so beautiful.Watch out!Go away!
Apostrophe ( ' )
1. ใช้แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามทั้งนามเอกพจน์และนามพหูพจน์ เช่นThe doctor's carThe men's clubSomkiet's dog
2.ใช้แสดงความเป็นเจ้าของของคำนามพหูพจน์ที่เติม s หรือชื่อเฉพาะที่มี s เช่นThe girls' books
Charles' school2. ใช้คำย่อหรือรูปย่อcan't (cannnot)it's (it is)I'd rather (I woud rather)
Quotation Marks ( " " )
ใช้เขียนคร่อมข้อความที่เป็นประโยคคำพูดเช่นHe said, "I am going home."
"I can help you move," Narong volunteered.
Hypen ( - )
ใช้เพื่อเชื่อมคำสองคำให้เป็นคำเดียวกันเช่นex-husbandanti-Americantwo-day holiday
Dash ( - )
ใช้เพื่อเน้นข้อความที่แทรกเข้ามาเพื่ออธิบายหรือใช้คั่นคำละไว้ในฐานที่เข้าใจหรือเปลี่ยนใหม่ เช่น
I got lost, forgot my bag, and missed my plane-- it was a terrible trip.If I had a lot of money, I would ---Oh, what am I thinking? I will never be rich
วันเสาร์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
idiom
สำนวนอังกฤษ (Idiom และ สำนวนไทยที่นิยม)
1. a double –edged swordดาบสองคม
2. Build castles in the airสร้างวิมานในอากาศ
3. Diamond cut diamondเพชรตัดเพชร
4. Hang by a threadแขวนอยู่บนเส้นด้าย
5. in two mindsสองจิตสองใจ
6. lead by the noseจูงจมูก
7. let bygones be bygonesให้มันแล้ว แล้วไป
8. make someone's head spinทำให้หัวปั่น
9. pave the wayปูทาง
10. play with fireเล่นกับไฟ
11.Slippery as an eelลื่นเหมือนปลาไหล
12. a dirty old manเฒ่าหัวงู
13. The sooner the betterยิ่งเร็วยิ่งดี
14. Two-facedตีสองหน้า
15. Sleeping partnerเสือนอนกิน
16. A thorn in someone's fleshหนามยอกไก่
17. an old flameถ่านไฟเก่า
18. attemp an uphill taskเข็นครกขึ้นเขา
19. before someone's eyesต่อหน้าต่อตา
20. bone idle (lazy)ขี้เกียจสันหลังยาว
21. born with a silver spoon in one's mouthคาบช้อนเงินช้อนทอง
22. born yesterdayเด็กเมื่อวานซืน
23. brand newใหม่ถอดด้าม
24. brokeถังแตก
25. by the sweat of one's browอาบเหงื่อต่างน้ำ
26. dead to the worldหลับเป็นตาย
27. dog in the mangerหมาห้วงก้าง
28. get blood from a stoneรีดเลือดปู
29. Green eyedอิจฉาตาร้อน
30. Heads and taiโยนหัวโยนก้อย
วันศุกร์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
โรคชิคุนกุนยา
ชิคุนกุนยา" คืออะไร
"โรคชิคุนกุนยา" (Chikungunya) หรือ "โรคไข้ปวดข้อยุงลาย" ไม่ใช่โรคใหม่อะไรหรอกค่ะ แต่เป็นโรคที่อุบัติขึ้นมานานแล้วตั้งแต่ปี ค.ศ.1955 โดยมีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปแอฟริกา ก่อนจะแพร่ระบาดไปหลายๆ ประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยด้วย ซึ่งผู้ที่บรรยายลักษณะของโรคชิคุนกุนยาเป็นคนแรกคือ Marion Robinson และ W.H.R. Lumsden
การแพร่เชื้อโรคชิคุนกุนยาในทวีปแอฟริกานั้น มี 2 วงจร คือชนิด "วงจรชนบท" คน-ยุง-ลิง ซึ่งมีการระบาดเป็นครั้งคราว ก่อนที่คนจะนำเชื้อชนิดนี้ออกมาสู่ชุมชนเมือง ทำให้เกิด "วงจรในเมือง" คน-ยุง กลายเป็นการแพร่ระบาดจากคนสู่คน โดยมียุงเป็นพาหะนั่นเอง
ส่วนในทวีปเอเชียวงจรที่พบคือ "วงจรในเมือง" มียุงลายเป็นพาหะนำเชื้อติดต่อไปสู่คนได้ โดยเกิดการแพร่ระบาดในทวีปเอเชียครั้งแรกที่เมืองกัลกัตตา ประเทศอินเดีย ในปี ค.ศ.1963 ขณะที่ในประเทศไทยตรวจพบโรคชิคุนกุนยาครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2501 พร้อมๆ กับโรคไข้เลือดออกที่ระบาดเป็นครั้งแรกในทวีปเอเชีย จากนั้นประเทศไทยก็ได้พบการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยามาทั้งหมด 6 ครั้ง คือในปี พ.ศ 2531 ที่จังหวัดสุรินทร์, ปี พ.ศ. 2534 พบที่จังหวัดขอนแก่น และปราจีนบุรี จากนั้นในปี พ.ศ.2536 พบว่ามีการระบาด 3 ครั้งที่จังหวัดเลย นครศรีธรรมราช และหนองคาย
ก่อนที่ล่าสุดจะพบการระบาดอีกครั้งในช่วงต้นปี 2552 ที่จังหวัดนราธิวาส ยะลา สงขลา และปัตตานี ส่งผลให้มีผู้ป่วยด้วยโรคชิคุนกุนยากว่า 5,596 รายแล้ว (ข้อมูลจากสำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552)
ที่มาของชื่อไวรัสชิคุนกุนยา
ชื่อของเชื้อไวรัสชิคุนกุนยานั้น มาจากคำในภาษา Makonde ซึ่งเป็นภาษาของชนพื้นเมืองในแอฟริกาที่อาศัยอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศแทนซาเนีย และทางตอนเหนือของประเทศโมแซมบิก โดยรากศัพท์พื้นเมืองเดิมเรียกว่า kungunvala ซึ่งมีความหมายเป็นภาษาอังกฤษว่า "That which bends up" สอดคล้องกับลักษณะอาการปวดข้อของโรคนี้
สาเหตุของโรคชิคุนกุนยา
โรคชิคุนกุนยาเกิดจากเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา (Chikungunya virus) ซึ่งเป็น RNA Virus จัดอยู่ใน genus alphavirus และ family Togaviridae ที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ดังนั้นจึงมักพบการระบาดในช่วงฤดูฝนที่มีสภาพแวดล้อมเหมาะกับการเพาะพันธุ์ของยุงลาย
อาการของโรคชิคุนกุนยา
ผู้ที่เป็นโรคชิคุนกุนยาจะมีไข้สูงอย่างฉับพลัน ร่วมกับอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น มีผื่นแดงขึ้นตามร่างกาย ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูกหรือข้อ ปวดกระบอกตา หรือมีเลือดออกตามผิวหนัง และอาจมีอาการคันร่วมด้วย ซึ่งดูเผินๆ คล้ายกับโรคไข้เลือดออก หรือหัดเยอรมัน แต่จะไม่มีอาการรุนแรงจนถึงขั้นช็อก หรือเลือดออกมากเช่นโรคไข้เลือดออก
อย่างไรก็ตามโรคชิคุนกุนยาสามารถเป็นได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ แต่ผู้ใหญ่จะมีอาการรุนแรงกว่า คือมักจะมีอาการปวดข้อทั้งข้อมือ ข้อเท้า และเป็นข้ออักเสบตามมาด้วย ซึ่งมักจะเปลี่ยนตำแหน่งที่ปวดไปเรื่อยๆ บางครั้งมีอาการรุนแรงมากจนขยับข้อไม่ได้ แต่จะหายภายใน 1-12 สัปดาห์ หรือบางคนอาจจะปวดเรื้อรังอยู่เป็นเดือนหรือเป็นปีก็ได้
การรักษาและป้องกันโรคชิคุนกุนยา
ทุกวันนี้ยังไม่มีวัคซีนสำหรับการรักษาและป้องกันโรคชิคุนกุนยา ดังนั้นการรักษาจึงเป็นการรักษาตามอาการ เช่น หากเป็นไข้ก็ให้ยาลดไข้ หรือหากปวดข้อก็ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ เพื่อบรรเทาอาการเท่านั้น แต่ล่าสุดได้มีผลการศึกษาวิจัยพบว่า ยาคลอโรควิน (Chloroquin) สามารถบรรเทาอาการที่เกิดจากโรคชิคุนกุนยาได้ผลดีเช่นกัน
ทั้งนี้วิธีที่จะสามารถป้องกันโรคชิคุนกุนยาได้ดีที่สุดก็คือ การกำจัดยุงลายอันเป็นตัวพาหะนำโรค โดยต้องหมั่นตรวจดูแหล่งน้ำภายในบ้าน เช่น บ่อ กะละมัง ชาม โอ่งน้ำ ตุ่ม ฯลฯ ควรหาฝาปิดให้เรียบร้อยเพื่อป้องกันไม่ให้ยุงมาวางไข่ หรือให้ใส่ทรายอะเบทในอัตรา 1 กรัมต่อน้ำ 10 ลิตร ลงไปในน้ำก็จะสามารถป้องกันการวางไข่ของยุงลายได้ รวมทั้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาฉีดพ่นหมอกควันตามอาคารบ้านเรือนที่มีแหล่งน้ำขังอยู่ เพื่อเป็นการป้องกันและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
นอกจากนี้ตัวเราเองก็ต้องป้องกันไม่ให้ถูกยุงกัด โดยการทายากันยุง หรือใช้สารไล่ยุง และสวมเสื้อผ้าที่ป้องกันไม่ให้ยุงกัด รวมทั้งยังต้องเฝ้าสังเกตอาการของคนรอบข้างว่ามีอาการใกล้เคียงกับโรคชิคุนกุนยาหรือไม่ หากมีอาการคล้ายเคียงหรือต้องสงสัยให้รีบพาไปพบแพทย์โดยเร็ว
จะเห็นว่าแม้โรคชิคุนกุนยาจะไม่ทำอันตรายถึงชีวิต แต่ก็ทำให้คนป่วยได้รับความทุกข์ทรมาน และความรำคาญใจจากอาการปวดได้เช่นกัน ดังนั้นเราจึงควรป้องกัน และเตรียมพร้อมรับมือกับโรคชิคุนกุนยาไว้ก่อนจะดีที่สุดค่ะ
"โรคชิคุนกุนยา" (Chikungunya) หรือ "โรคไข้ปวดข้อยุงลาย" ไม่ใช่โรคใหม่อะไรหรอกค่ะ แต่เป็นโรคที่อุบัติขึ้นมานานแล้วตั้งแต่ปี ค.ศ.1955 โดยมีถิ่นกำเนิดอยู่ที่ทวีปแอฟริกา ก่อนจะแพร่ระบาดไปหลายๆ ประเทศทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยด้วย ซึ่งผู้ที่บรรยายลักษณะของโรคชิคุนกุนยาเป็นคนแรกคือ Marion Robinson และ W.H.R. Lumsden
การแพร่เชื้อโรคชิคุนกุนยาในทวีปแอฟริกานั้น มี 2 วงจร คือชนิด "วงจรชนบท" คน-ยุง-ลิง ซึ่งมีการระบาดเป็นครั้งคราว ก่อนที่คนจะนำเชื้อชนิดนี้ออกมาสู่ชุมชนเมือง ทำให้เกิด "วงจรในเมือง" คน-ยุง กลายเป็นการแพร่ระบาดจากคนสู่คน โดยมียุงเป็นพาหะนั่นเอง
ส่วนในทวีปเอเชียวงจรที่พบคือ "วงจรในเมือง" มียุงลายเป็นพาหะนำเชื้อติดต่อไปสู่คนได้ โดยเกิดการแพร่ระบาดในทวีปเอเชียครั้งแรกที่เมืองกัลกัตตา ประเทศอินเดีย ในปี ค.ศ.1963 ขณะที่ในประเทศไทยตรวจพบโรคชิคุนกุนยาครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2501 พร้อมๆ กับโรคไข้เลือดออกที่ระบาดเป็นครั้งแรกในทวีปเอเชีย จากนั้นประเทศไทยก็ได้พบการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยามาทั้งหมด 6 ครั้ง คือในปี พ.ศ 2531 ที่จังหวัดสุรินทร์, ปี พ.ศ. 2534 พบที่จังหวัดขอนแก่น และปราจีนบุรี จากนั้นในปี พ.ศ.2536 พบว่ามีการระบาด 3 ครั้งที่จังหวัดเลย นครศรีธรรมราช และหนองคาย
ก่อนที่ล่าสุดจะพบการระบาดอีกครั้งในช่วงต้นปี 2552 ที่จังหวัดนราธิวาส ยะลา สงขลา และปัตตานี ส่งผลให้มีผู้ป่วยด้วยโรคชิคุนกุนยากว่า 5,596 รายแล้ว (ข้อมูลจากสำนักระบาดวิทยา ณ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552)
ที่มาของชื่อไวรัสชิคุนกุนยา
ชื่อของเชื้อไวรัสชิคุนกุนยานั้น มาจากคำในภาษา Makonde ซึ่งเป็นภาษาของชนพื้นเมืองในแอฟริกาที่อาศัยอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศแทนซาเนีย และทางตอนเหนือของประเทศโมแซมบิก โดยรากศัพท์พื้นเมืองเดิมเรียกว่า kungunvala ซึ่งมีความหมายเป็นภาษาอังกฤษว่า "That which bends up" สอดคล้องกับลักษณะอาการปวดข้อของโรคนี้
สาเหตุของโรคชิคุนกุนยา
โรคชิคุนกุนยาเกิดจากเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา (Chikungunya virus) ซึ่งเป็น RNA Virus จัดอยู่ใน genus alphavirus และ family Togaviridae ที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ดังนั้นจึงมักพบการระบาดในช่วงฤดูฝนที่มีสภาพแวดล้อมเหมาะกับการเพาะพันธุ์ของยุงลาย
อาการของโรคชิคุนกุนยา
ผู้ที่เป็นโรคชิคุนกุนยาจะมีไข้สูงอย่างฉับพลัน ร่วมกับอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น มีผื่นแดงขึ้นตามร่างกาย ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูกหรือข้อ ปวดกระบอกตา หรือมีเลือดออกตามผิวหนัง และอาจมีอาการคันร่วมด้วย ซึ่งดูเผินๆ คล้ายกับโรคไข้เลือดออก หรือหัดเยอรมัน แต่จะไม่มีอาการรุนแรงจนถึงขั้นช็อก หรือเลือดออกมากเช่นโรคไข้เลือดออก
อย่างไรก็ตามโรคชิคุนกุนยาสามารถเป็นได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ แต่ผู้ใหญ่จะมีอาการรุนแรงกว่า คือมักจะมีอาการปวดข้อทั้งข้อมือ ข้อเท้า และเป็นข้ออักเสบตามมาด้วย ซึ่งมักจะเปลี่ยนตำแหน่งที่ปวดไปเรื่อยๆ บางครั้งมีอาการรุนแรงมากจนขยับข้อไม่ได้ แต่จะหายภายใน 1-12 สัปดาห์ หรือบางคนอาจจะปวดเรื้อรังอยู่เป็นเดือนหรือเป็นปีก็ได้
การรักษาและป้องกันโรคชิคุนกุนยา
ทุกวันนี้ยังไม่มีวัคซีนสำหรับการรักษาและป้องกันโรคชิคุนกุนยา ดังนั้นการรักษาจึงเป็นการรักษาตามอาการ เช่น หากเป็นไข้ก็ให้ยาลดไข้ หรือหากปวดข้อก็ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ เพื่อบรรเทาอาการเท่านั้น แต่ล่าสุดได้มีผลการศึกษาวิจัยพบว่า ยาคลอโรควิน (Chloroquin) สามารถบรรเทาอาการที่เกิดจากโรคชิคุนกุนยาได้ผลดีเช่นกัน
ทั้งนี้วิธีที่จะสามารถป้องกันโรคชิคุนกุนยาได้ดีที่สุดก็คือ การกำจัดยุงลายอันเป็นตัวพาหะนำโรค โดยต้องหมั่นตรวจดูแหล่งน้ำภายในบ้าน เช่น บ่อ กะละมัง ชาม โอ่งน้ำ ตุ่ม ฯลฯ ควรหาฝาปิดให้เรียบร้อยเพื่อป้องกันไม่ให้ยุงมาวางไข่ หรือให้ใส่ทรายอะเบทในอัตรา 1 กรัมต่อน้ำ 10 ลิตร ลงไปในน้ำก็จะสามารถป้องกันการวางไข่ของยุงลายได้ รวมทั้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาฉีดพ่นหมอกควันตามอาคารบ้านเรือนที่มีแหล่งน้ำขังอยู่ เพื่อเป็นการป้องกันและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
นอกจากนี้ตัวเราเองก็ต้องป้องกันไม่ให้ถูกยุงกัด โดยการทายากันยุง หรือใช้สารไล่ยุง และสวมเสื้อผ้าที่ป้องกันไม่ให้ยุงกัด รวมทั้งยังต้องเฝ้าสังเกตอาการของคนรอบข้างว่ามีอาการใกล้เคียงกับโรคชิคุนกุนยาหรือไม่ หากมีอาการคล้ายเคียงหรือต้องสงสัยให้รีบพาไปพบแพทย์โดยเร็ว
จะเห็นว่าแม้โรคชิคุนกุนยาจะไม่ทำอันตรายถึงชีวิต แต่ก็ทำให้คนป่วยได้รับความทุกข์ทรมาน และความรำคาญใจจากอาการปวดได้เช่นกัน ดังนั้นเราจึงควรป้องกัน และเตรียมพร้อมรับมือกับโรคชิคุนกุนยาไว้ก่อนจะดีที่สุดค่ะ
วันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
Petits soufflés au chocolat
Ingrédients :
- Sauce chocolat
- 6 lamelles d'oranges confites
- 100gr de surce
- 50gr de cacao
- 10 cl de crème fraîche Soufflés
- 4 œufs
- 100gr de chocolat noir à 75% de cacao
- 60gr de beurre
- 30gr de cacao en poudre
- 100gr de sucre glace
Recette :
Préparation de la sauce au chocolatDans une casserole mélangez le sucre et le chocolat, et incorporez la crème fraîche peu à peu en remuant. Laissez cuire 5 minutes jusqu’à réduction de moitié.
Préparation des soufflésPréchauffez le four à 190°C (th 6/7). Pour le soufflé, faites fondre le chocolat au bain marie, rajoutez-y le beurre, puis les jaunes d’œuf. Montez les blancs en neige, et ajoutez-y le sucre en fouettant.Incorporez les blancs délicatement dans le mélange au chocolat en mélangeant petit à petit. Beurrez 6 ramequins, puis remplissez-les au ¾. Laissez cuire 8 à 10 minutes à mi-hauteur. Décorez avec les lamelles d’oranges confites et le sucre glace. Dégustez!
วันพุธที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
โรคติดเน็ตคุณเป็นหรือเปล่า
อินเตอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีอย่างหนึ่ง ซึ่งก็เช่นเดียวกับเทคโนโลยีอื่นที่มนุษย์ประดิษฐ์คิดค้นขึ้น คือมีทั้งข้อดีและข้อเสีย นอกเหนือไปจากเรื่องไม่ดีไม่งามต่าง ๆ ที่หลั่งไหลมากับสื่อชนิดนี้ ไม่ว่าจะเป็นภาพลามกอนาจาร ไวรัส การพนัน หรืออะไรร้าย ๆ ทำนองนี้แล้ว แม้แต่คนเล่นเว็บที่เลือกชมแต่สิ่งดี ๆ ก็อาจจะมีปัญหาได้เหมือนกัน
เนื่องจากในสังคมอเมริกันมีคนใช้อินเตอร์เน็ตเป็นจำนวนมาก และนับวันก็จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น เขาจึงเกิดความเป็นห่วงกันว่า เทคโนโลยีใหม่นี้จะส่งผลกระทบอะไรต่อสภาพจิตใจคนบ้างหรือเปล่า ดังนั้นนาย David Greenfield นักวิจัยและนักจิตบำบัด จึงได้ร่วมกับสำนักข่าว ABC News ทำการสำรวจความรู้สึกและสภาพจิตใจของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตจำนวนมากถึง 17,251 ราย ผ่านทางเว็บไซท์ www.abcnews.com ซึ่งถือเป็นการศึกษากลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เน็ตครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยทำกันมา และได้นำเสนอผลงาน ครั้งนี้ในที่ประชุมประจำปีของสมาคมจิตเวชอเมริกัน (American Psychological Association) เมื่อเดือนสิงหาคม (2542) ที่ผ่านมานี้เอง
ผลการศึกษาครั้งนี้ดูเหมือนจะสนับสนุนแนวความคิดที่กำลังเป็นที่ยอมรับกันมากขึ้นว่า ความอยากใช้อินเตอร์เน็ตอย่างไม่อาจหักห้ามใจตัวเอง หรือเราอาจเรียกว่า "โรคติดเน็ต" นั้น เป็นปัญหาทางจิตอย่างหนึ่ง และเป็นปัญหาที่มีอยู่จริง
แบบสอบถามที่ใช้ในการสำรวจครั้งนี้ Greenfield ปรับปรุงมาจากแบบสอบถามที่ใช้กับผู้ติดการพนัน ซึ่งถ้าผู้ถูกสำรวจตอบ "ใช่" มากกว่า 5 ข้อจากเกณฑ์ 10 ข้อ ก็จะถูกประเมินว่ามีอาการติดอินเตอร์เน็ต ปรากฏว่ามีผู้อยู่ในเกณฑ์นี้ 990 รายจากผู้ตอบทั้งหมด หรือ ประมาณ 5.7 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งถ้าคิดว่าประชากรที่ใช้อินเตอร์เน็ตทั่วโลกมีประมาณ 200 ล้านราย ก็หมายความว่าอาจจะมีผู้ติดเน็ตถึง 11.4 ล้านคนทีเดียว
Greenfield กล่าวว่า "ในฐานะนักบำบัด ผมพบผู้ป่วยทั้งประเภทที่ครอบครัวแตกแยก, เด็ก ๆ มีปัญหา, พวกที่ทำผิดกฏหมาย และ พวกที่กำลังใช้เงินมากเกินไป
อย่างไรก็ดีจำนวน 5.7 เปอร์เซ็นต์ที่มีปัญหานั้น ก็จัดว่ายังน้อยเมื่อเทียบกับการคาดการณ์ก่อนหน้านี้ ที่คิดว่ามีประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ หรือมากกว่า ซึ่งเป็นผลมาจากการสำรวจของนักเรียนระดับวิทยาลัย นอกจากนี้การสำรวจยังทำผ่านเว็บไซท์เพียงแห่งเดียว และแบบสอบถาม ยังอยู่ติดกับหัวข้อข่าวเรื่องการติดอินเทอร์เน็ตด้วย ดังนั้นผู้ที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จึงอาจมีแนวโน้มของอาการนี้อยู่แล้วก็ได้ ซึ่งจะทำให้ผลสำรวจเบี่ยงเบนไปบ้าง
สำหรับผลสรุปอื่น ๆ ที่น่าสนใจจากการสำรวจครั้งนี้ก็เช่น
--1 ใน 4 บองนักเล่นเว็บยอมรับว่าใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อบรรเทาความรู้สึกตกต่ำ, สิ้นหวัง, สำนึกผิด และความกลุ้มใจ
--1 ใน 7 ยอมรับว่ามีความรู้สึกหมกมุ่นถึงอินเตอร์เน็ตระหว่างที่ไม่ได้เล่น
--1 ใน 7 เช่นกัน บอกว่าเคยพยายามจำกัดการใช้ แต่ล้มเหลว
--1 ใน 14 มีความรู้สึกกระวนกระวายและหงุดหงิดเมื่อพยายามจะลดการเล่น
--1 ใน 25 ตอบว่าตนสูญเสียงาน โอกาสทางวิชาชีพ หรือความสัมพันธ์ที่สำคัญเพราะนิสัยการเล่นอินเตอร์เน็ต
เนื่องจากในสังคมอเมริกันมีคนใช้อินเตอร์เน็ตเป็นจำนวนมาก และนับวันก็จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น เขาจึงเกิดความเป็นห่วงกันว่า เทคโนโลยีใหม่นี้จะส่งผลกระทบอะไรต่อสภาพจิตใจคนบ้างหรือเปล่า ดังนั้นนาย David Greenfield นักวิจัยและนักจิตบำบัด จึงได้ร่วมกับสำนักข่าว ABC News ทำการสำรวจความรู้สึกและสภาพจิตใจของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตจำนวนมากถึง 17,251 ราย ผ่านทางเว็บไซท์ www.abcnews.com ซึ่งถือเป็นการศึกษากลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เน็ตครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยทำกันมา และได้นำเสนอผลงาน ครั้งนี้ในที่ประชุมประจำปีของสมาคมจิตเวชอเมริกัน (American Psychological Association) เมื่อเดือนสิงหาคม (2542) ที่ผ่านมานี้เอง
ผลการศึกษาครั้งนี้ดูเหมือนจะสนับสนุนแนวความคิดที่กำลังเป็นที่ยอมรับกันมากขึ้นว่า ความอยากใช้อินเตอร์เน็ตอย่างไม่อาจหักห้ามใจตัวเอง หรือเราอาจเรียกว่า "โรคติดเน็ต" นั้น เป็นปัญหาทางจิตอย่างหนึ่ง และเป็นปัญหาที่มีอยู่จริง
แบบสอบถามที่ใช้ในการสำรวจครั้งนี้ Greenfield ปรับปรุงมาจากแบบสอบถามที่ใช้กับผู้ติดการพนัน ซึ่งถ้าผู้ถูกสำรวจตอบ "ใช่" มากกว่า 5 ข้อจากเกณฑ์ 10 ข้อ ก็จะถูกประเมินว่ามีอาการติดอินเตอร์เน็ต ปรากฏว่ามีผู้อยู่ในเกณฑ์นี้ 990 รายจากผู้ตอบทั้งหมด หรือ ประมาณ 5.7 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งถ้าคิดว่าประชากรที่ใช้อินเตอร์เน็ตทั่วโลกมีประมาณ 200 ล้านราย ก็หมายความว่าอาจจะมีผู้ติดเน็ตถึง 11.4 ล้านคนทีเดียว
Greenfield กล่าวว่า "ในฐานะนักบำบัด ผมพบผู้ป่วยทั้งประเภทที่ครอบครัวแตกแยก, เด็ก ๆ มีปัญหา, พวกที่ทำผิดกฏหมาย และ พวกที่กำลังใช้เงินมากเกินไป
อย่างไรก็ดีจำนวน 5.7 เปอร์เซ็นต์ที่มีปัญหานั้น ก็จัดว่ายังน้อยเมื่อเทียบกับการคาดการณ์ก่อนหน้านี้ ที่คิดว่ามีประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ หรือมากกว่า ซึ่งเป็นผลมาจากการสำรวจของนักเรียนระดับวิทยาลัย นอกจากนี้การสำรวจยังทำผ่านเว็บไซท์เพียงแห่งเดียว และแบบสอบถาม ยังอยู่ติดกับหัวข้อข่าวเรื่องการติดอินเทอร์เน็ตด้วย ดังนั้นผู้ที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จึงอาจมีแนวโน้มของอาการนี้อยู่แล้วก็ได้ ซึ่งจะทำให้ผลสำรวจเบี่ยงเบนไปบ้าง
สำหรับผลสรุปอื่น ๆ ที่น่าสนใจจากการสำรวจครั้งนี้ก็เช่น
--1 ใน 4 บองนักเล่นเว็บยอมรับว่าใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อบรรเทาความรู้สึกตกต่ำ, สิ้นหวัง, สำนึกผิด และความกลุ้มใจ
--1 ใน 7 ยอมรับว่ามีความรู้สึกหมกมุ่นถึงอินเตอร์เน็ตระหว่างที่ไม่ได้เล่น
--1 ใน 7 เช่นกัน บอกว่าเคยพยายามจำกัดการใช้ แต่ล้มเหลว
--1 ใน 14 มีความรู้สึกกระวนกระวายและหงุดหงิดเมื่อพยายามจะลดการเล่น
--1 ใน 25 ตอบว่าตนสูญเสียงาน โอกาสทางวิชาชีพ หรือความสัมพันธ์ที่สำคัญเพราะนิสัยการเล่นอินเตอร์เน็ต
วันอาทิตย์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
coronation day
The coronation of His Majesty King Bhumibol Adulyadej took place on 5 May 1950. His Majesty is the ninth King of the Chakri Dynasty. On 5 May of every year, the Thai people rejoice and express their affection and loyalty to him by organizing a celebration on his coronation day.
Prior to the reign of King Rama IV (King Mongkut), there was no coronation ceremony in Thailand, there was only private ceremony held by high ranking officials to celebrate their Royal Regalia and positions in the 6th lunar month. A coronation, however, took place for the first time when King Rama IV was crowned on 15 May 1851. King Mongkut thought that the Coronation was an auspicious occasion but thought that it would be dificult to explain the meaning of the coronation day to his subjects in detail, he thus called this day as a "ceremony to commemorate the Royal Regalia" but was quite similar to that of a coronation. On that day (the 13th of the full moon in the 6th lunar month), following day monks were invited to have meal at the Dusit Maha Prasart Throne Hall in Grand Palace.
During the reign of the present king, the ceremony is performed for three days. The first day falls on 3 May in which the following ceremony will be performed; the king performs a merit-making ceremony at the Audience Hall of Amarindra in dedication to the deceased kings while Buddhist monks chant, give a sermon and perform a requiem on the royal ashes of the deceased kings. On 4 May, the Coronation Ceremonies begin with the proclamation of the Coronation Day read by the Chief of Brahmin priests followed by an evening chanting performed by Buddhist monks. Finally, 5 May is the actual date of the ceremony in which food is to be offered to monks and followed by a celebration of the Royal Regalia. At noon the Army and Navy fire a 21-gun salute in honour of the king. On this day, His Majesty the King also presents the royal decorations to the people who have made a valuable contribution to the country.
Prior to the reign of King Rama IV (King Mongkut), there was no coronation ceremony in Thailand, there was only private ceremony held by high ranking officials to celebrate their Royal Regalia and positions in the 6th lunar month. A coronation, however, took place for the first time when King Rama IV was crowned on 15 May 1851. King Mongkut thought that the Coronation was an auspicious occasion but thought that it would be dificult to explain the meaning of the coronation day to his subjects in detail, he thus called this day as a "ceremony to commemorate the Royal Regalia" but was quite similar to that of a coronation. On that day (the 13th of the full moon in the 6th lunar month), following day monks were invited to have meal at the Dusit Maha Prasart Throne Hall in Grand Palace.
During the reign of the present king, the ceremony is performed for three days. The first day falls on 3 May in which the following ceremony will be performed; the king performs a merit-making ceremony at the Audience Hall of Amarindra in dedication to the deceased kings while Buddhist monks chant, give a sermon and perform a requiem on the royal ashes of the deceased kings. On 4 May, the Coronation Ceremonies begin with the proclamation of the Coronation Day read by the Chief of Brahmin priests followed by an evening chanting performed by Buddhist monks. Finally, 5 May is the actual date of the ceremony in which food is to be offered to monks and followed by a celebration of the Royal Regalia. At noon the Army and Navy fire a 21-gun salute in honour of the king. On this day, His Majesty the King also presents the royal decorations to the people who have made a valuable contribution to the country.
วันศุกร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
หวัดน้องหมู
รู้จักโรคไข้หวัดหมู
"โรคไข้หวัดหมู" หรือ Swine influenza เป็นไข้หวัดใหญ่ ชนิดเอ ตามปกติมีการระบาดในหมูเท่านั้น สามารถพบได้ทั้งในหมูเลี้ยง และหมูป่า ซึ่งมีหลากหลายสายพันธุ์ ทั้ง H1N1, H1N2 และ H3N2 แต่บางครั้งหมูอาจมีเชื้อไข้หวัดอยู่ในตัวมากกว่า 1 ชนิด ซึ่งอาจทำให้เกิดการผสมกันของยีนได้ ทำให้เกิดเป็นไวรัสชนิดใหม่ที่สามารถข้ามสายพันธุ์มาติดต่อยังมนุษย์ได้ เริ่มต้นจากการสัมผัสกับหมูที่เป็นโรค
ไข้หวัดหมูส่วนใหญ่มักแพร่ระบาดในช่วงฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาว แต่สามารถพบเชื้อได้ตลอดทั้งปี สำหรับโรคไข้หวัดหมูที่กำลังแพร่ระบาดในประเทศเม็กซิโกและสหรัฐอเมริกานั้น เกิดจากเชื้อไข้หวัดใหญ่ ชนิดเอ สายพันธุ์ เอช 1 เอ็น 1 (H1N1) ซึ่งเป็นไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ของคน ซึ่งไม่เคยพบมาก่อน เนื่องจากเป็นการผสมกันของสารพันธุกรรมไข้หวัดใหญ่ในมนุษย์, ไข้หวัดนกที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ และไข้หวัดหมูที่พบในทวีปเอเชีย และยุโรป ทำให้องค์การอนามัยโลกต้องเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดหมูอย่างใกล้ชิด เนื่องจากหวั่นวิตกว่า เชื้อ H1N1 อาจจะกลายพันธุ์เป็นสายพันธุ์ที่อันตรายยิ่งขึ้น
วิวัฒนาการไข้หวัดหมู
ก่อนจะกลายพันธุ์เป็นไข้หวัดหมูสายพันธุ์ใหม่ หรือไข้หวัดใหญ่เม็กซิโกนั้น ไข้หวัดหมูสายพันธุ์ดั้งเดิม พบมาตั้งแต่ ค. ศ.1918-1919 ในช่วงที่ไข้หวัดใหญ่สเปน (Spanish Flu) ระบาดครั้งใหญ่ทั่วโลก จนมีผู้เสียชีวิตประมาณ 50 ล้านคน ส่วนใหญ่อายุ 20-40 ปี และตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป จากนั้นโรคไข้หวัดหมูได้แพร่ระบาดในช่วงต่างๆ ก่อให้เกิดโรคในคนอยู่มากกว่า 50 ราย โดยผู้ป่วย 61% มีประวัติสัมผัสหมูและมีอายุเฉลี่ย 24 ปี หลังจากนั้นใน ค.ศ.1974 ไข้หวัดหมูได้แพร่ระบาดในค่ายทหาร (Fort Dix) ที่รัฐนิวเจอร์ซี่ มีผู้ป่วย 13 ราย เสียชีวิต 1 ราย โดยที่อีก 230 ราย ติดเชื้อแต่ไม่มีอาการ หรือมีอาการแต่น้อยมาก ทั้งหมดนี้ไม่มีประวัติสัมผัสหมู ซึ่งแสดงว่าน่าจะมีการพัฒนาจนมีการติดต่อจากคนสู่คน
ต่อมาใน ค.ศ.1988 หญิงตั้งครรภ์คนหนึ่งเสียชีวิตในรัฐวิสคอนซิน และมีประวัติสัมผัสหมู จึงเกิดการสงสัยว่าไข้หวัดหมูอาจไม่ใช่พันธุ์หมูล้วน (classic H1N1) จนกระทั่งปี ค.ศ.1998 จึงพิสูจน์พบว่า หมูที่เลี้ยงในประเทศสหรัฐอเมริกา มีไวรัสไข้หวัดหมูกลายพันธุ์ โดยมีพันธุกรรมผสมระหว่างหมู คน และนก เกิดสายพันธุ์ผสม (Triple assortant virus) H3N2, H1N2, และ H1N1 (วารสารโรคติดเชื้อ JID 2008) และสายพันธุ์ผสมนี้ยังพบได้ในเอเชีย และแคนาดา
จากนั้นในเดือนพฤศจิกายน 2008 ได้พบไข้หวัดหมูผสมสายพันธุ์ใหม่ (H1N1) ที่ประเทศสเปน จากหญิงอายุ 50 ปีที่ทำงานในฟาร์มหมู โดยมีอาการไข้ ไอ เหนื่อย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ คันคอ คันตา และหนาวสั่น แต่อาการเหล่านี้หายไปได้เอง โดยไม่ต้องเข้ารับการรักษาใดๆ จึงไม่มีการคาดการณ์ว่า ไข้หวัดหมูสายพันธุ์ใหม่จะเป็นอันตรายมากนัก
จนกระทั่งล่าสุด เกิดการแพร่ระบาดของไข้หวัดหมู ในประเทศเม็กซิโก และมีการยืนยันอย่างแน่ชัดว่า โรคนี้สามารถแพร่กันระหว่างคนสู่คน เนื่องจากเชื้อโรคได้วิวัฒนาการอย่างสมบูรณ์แล้ว
การติดต่อโรคไข้หวัดหมู
เชื้อไข้หวัดหมู มีการติดต่อเหมือนกับโรคไข้หวัดใหญ่ในคนทั่วไป และเชื้อจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ตามปกติคนจะไม่ติดเชื้อไข้หวัดหมู ยกเว้นผู้ที่ไปสัมผัสใกล้ชิดกับหมู ก็อาจติดเชื้อไข้หวัดหมูมาได้ แต่มักไม่ค่อยพบกรณีนี้ ทั้งยังไม่ค่อยพบกรณีไข้หวัดหมูระบาดจากคนสู่คนอีกด้วย แต่กรณีโรคไข้หวัดใหญ่ที่ระบาดในเม็กซิโกอยู่ขณะนี้ เป็นที่ชัดเจนว่า มีการติดต่อจากคนสู่คน เพราะผู้ป่วยบางรายไม่เคยมีประวัติสัมผัสหมูแต่อย่างใด
ทั้งนี้เชื้อโรคจะอยู่ในเสมหะ น้ำมูก น้ำลายของผู้ป่วย และสามารถแพร่กระจายไปยังผู้อื่นด้วยการไอ หรือจามรดกันในระยะใกล้ชิด รวมทั้งติดต่อกันทางลมหายใจ หากอยู่ใกล้ชิดผู้ติดเชื่อ และสามารถติดต่อได้จากมือ หรือสิ่งของที่มีเชื้อปนเปื้อนอยู่ ทั้งนี้เชื้อโรคจะเข้าสู่ร่างกายทางจมูกและตา เช่น การแคะจมูก การขยี้ตา แต่ไม่ติดต่อจากการรับประทานเนื้อหมู
ขณะที่นักวิชาการขององค์การอนามัยโลก ระบุไว้ว่า โรคไข้หวัดหมู มีอัตราการแพร่ระบาดมากกว่าโรคซาร์ส และไข้หวัดนก แต่อัตราการเสียชีวิตมีน้อยกว่า คืออยู่ที่ร้อยละ 5-7 ขณะที่โรคไข้หวัดนกมีอัตราการเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ 60
แต่ทั้งนี้ ผู้เชี่ยวชาญยังไม่ยืนยันว่า โรคไข้หวัดหมูสายพันธุ์ใหม่จะระบาดในวงกว้างหรือไม่ และจะทำให้มีผู้เสียชีวิตมากน้อยเพียงใด อีกทั้งยังไม่แน่ใจว่าไวรัสสายพันธุ์ใหม่จะติดต่อจากคนสู่คนได้ยากง่ายระดับไหน
อาการของโรคไข้หวัดหมู
เมื่อเชื้อไข้หวัดหมูเข้าสู่ร่างกายจะมีระยะฟักตัวประมาณ 1 สัปดาห์ ก่อนจะปรากฎอาการที่คล้ายกับผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ธรรมดา แต่มีอาการรุนแรงกว่า และรวดเร็วกว่า นั่นคือ มีไข้สูงราว 38 องศาเซลเซียส ปวดเมื่อยตามร่างกาย ตามข้อ ไอ มีน้ำมูก มีเสมหะ ปอดบวม เบื่ออาหาร บางรายอาจท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน จากนั้นเชื้อจะแพร่เข้าสู่กระแสโลหิต จึงทำให้เกิดเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ผู้ป่วยจะมีการทรงตัวผิดปกติ เดินเอนไปเอนมาเหมือนคนเมาสุรา นอกจากนี้อาจสูญเสียการได้ยินจนถึงขั้นหูหนวกได้ และอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตหากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
การรักษาโรคไข้หวัดหมู
ทางสหรัฐอเมริกา ระบุว่า โรคไข้หวัดหมูสามารถรักษาได้ด้วยยาปฏิชีวนะ คือ วัคซีนแอนตี้ไวรัส "โอเซลทามิเวียร์" (ชื่อทางการค้าว่า ทามิฟลู) และ "ซานามิเวียร์" (ชื่อทางการค้าว่า รีเลนซา) เพื่อป้องกันเชื้อไวรัสไม่ให้แตกตัว แต่ทั้งนี้ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่า วัคซีนเหล่านี้จะมีประสิทธิภาพเพียงใด เนื่องจากไข้หวัดหมูที่แพร่ระบาดอยู่ขณะนี้ เป็นไวรัสสายพันธุ์ใหม่ที่เกิดขึ้น จึงต้องมีการศึกษาพัฒนาวัคซีนตัวใหม่ เพื่อใช้ในการรักษาให้มีประสิทธิผลมากขึ้นต่อไป การป้องกันโรคไข้หวัดหมู
โรคไข้หวัดหมู แม้จะเป็นสายพันธุ์หมู แต่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับหมูโดยตรง เพราะเป็นไข้หวัดใหญ่ที่ติดต่อจากคนสู่คน ดังนั้นจึงสามารถรับประทานหมูได้ หากไม่แน่ใจ ให้ปรุงเนื้อหมูให้สุกเสียก่อน คือ ผ่านความร้อนที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียสขึ้นไป หรือต้มในน้ำเดือด ก็จะสามารถทำลายเชื้อให้หมดไปได้
ทั้งนี้ วิธีการป้องกันการติดต่อของโรคได้ดีที่สุด คือ การรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ โดยการออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ อีกทั้งควรหลีกเลี่ยงการไปในที่ชุมชน หรือสถานที่แออัด และล้างมือบ่อยๆ
ในส่วนของผู้ที่มีความจำเป็นต้องเดินทางไปยังประเทศเม็กซิโก รวมทั้งรัฐแคลิฟอร์เนียและเทกซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศใกล้เคียง ควรติดตามสถานการณ์และคำแนะนำจากกระทรวงสาธารณสุขอย่างใกล้ชิด และหากมีอาการไข้ไม่ลดภายใน 2 วัน ให้รีบไปพบแพทย์ทันที
สำหรับประเทศไทยนั้น ล่าสุดกระทรวงสาธารณสุขยืนยันว่า ยังไม่พบการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดหมูในประเทศ ดังนั้นก็ไม่ต้องตื่นตระหนกไปหรอกค่ะ แต่ถ้าหากยังไม่แน่ใจว่าจะปลอดภัย 100 เปอร์เซ็นต์จากโรคไข้หวัดหมู แนะนำว่าให้รับประทานเนื้อหมูที่ปรุงสุกแล้วดีกว่า และรักษาสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ อีกทั้งติดตามข่าวสารอยู่เป็นประจำ เพื่อความปลอดภัยในชีวิตค่ะ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)